รศ.ดร.ธัชชนันท์ อิศรเดช Assoc.Prof.Dr.Thatchanan Issaradet

2352019_๒๐๑๑๐๗_0

ตำแหน่งปัจจุบัน:  ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป Assistant to the Rector for General Affairs


การแต่งตั้ง

พ.ศ. ๒๕๔๖     การบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (เอกสาร)

พ.ศ. ๒๕๖๑     แต่งตั้งรักษาการผู้อำนวยการกองนิติการ สำนักอธิการบดี (เอกสาร)

พ.ศ. ๒๕๖๒     แต่งตั้งรองศาสตราจารย์ (เอกสาร)

 

ประวัติการศึกษา:

พ.ศ. ๒๕๔๐   High School Diploma, Technical Vocational Institution (TVI), NM, USA.

พ.ศ. ๒๕๓๕   พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ. รัฐศาสตร์) เกียรตินิยม รุ่น ที่ ๓๘  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. ๒๕๓๘   ปริญญาโท (M.A. Political Scienc) เกียรตินิยม Marathwada University, Aurangabad, INDIA

พ.ศ. ๒๕๔๓   ปริญญาเอก (Ph.D. Political Science)  Marathwada University, Aurangabad, INDIA

พ.ศ. ๒๕๕๙   นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พ.ศ. ๒๕๖๕   นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 

รางวัลที่เคยได้รับ :  

พ.ศ. ๒๕๕๕           เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)

พ.ศ. ๒๕๕๖           ผู้มีผลงานดีเด่นและมีคุณุปการอย่างยิ่งต่อกิจการพระพุทธศาสนาและ  การคณะสงฆ์ จังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปี ๒๕๕๖

พ.ศ. ๒๕๖๑           รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์  สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พ.ศ. ๒๕๖๓          เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)

 

การศึกษาอบรม:

พ.ศ. ๒๕๕๙   หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำหรับนักบริหารระดับสูง (ปธส.)  รุ่นที่ ๔ โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและมหาวิทยาลัยมหิดล

พ.ศ. ๒๕๕๙   หลักสูตรวิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย (Training for the trainers) รุ่นที่ ๑๑ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มจร

พ.ศ. ๒๕๖๐   หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (บ.ปค.)    ตามมาตรฐานที่ ก.ศป. รับรอง รุ่นที่ ๗ โดยสำนักงานศาลปกครอง

พ.ศ. ๒๕๖๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่นที่ ๑๗ โดยสถาบันพระปกเกล้า

พ.ศ. ๒๕๖๒   หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารงานยุติธรรมระดับสูง (ยธส.) รุ่นที่ ๑๐ โดยกระทรวงยุติธรรม

พ.ศ. ๒๕๖๒ หลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ “หลักสูตรพื้นฐาน รุ่นที่ ๑/๒๕๖๒ รหัส ก-๓๖๗

พ.ศ. ๒๕๖๓ หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจิตระดับสูง (นบยส.) รุ่นที่ ๑๑ โดยสำนักงาน ป.ป.ช.

 

ประสบการณ์การทำงาน :

พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๖      เป็นครูสอนวิชาพระพุทธศาสนาและภาษาไทย ณ วัดบุญญาราม รัฐเคดาห์   ประเทศมาเลเซีย

พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๕    เป็นเลขานุการพระธรรมทูตสายต่างประเทศรุ่นที่ ๒ และเป็นพระธรรมทูต  และเลขานุการวัดพุทธมงคลนิมิต มลรัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๕     บรรยายตามสถาบันการศึกษาต่างๆ ในมลรัฐนิวแม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา  เช่น St. Pius High, Cibola High S., University of New Mexico เป็นต้น

พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๘    เป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรภาษาอังกฤษ (EP) โรงเรียนโยธินบูรณะ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๓    เป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรภาษาอังกฤษ (EP)  โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. ๒๕๕๐                   สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ

พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒     ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการศาสนาและศิลปวัฒนธรรม วุฒิสภา

พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๓     กรรมการสภาวิชาการ มจร

พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓     ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร  ณ วัดป่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๘     ผู้อำนวยการหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร ณ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี

พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๕๙     รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าภาควิชานิติศาสตร์ มจร

พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙     เลขาธิการ สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒ สมัย

พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐    กรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฝ่ายสมาชิก มจร ๒ สมัย

พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๑    ผู้อำนวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๓     รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองนิติการ

 

ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน (๒๕๖๕) :

– รองศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

– ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป มจร

– รองผู้จัดการมหาจุฬาบรรณาคาร มจร

– กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับคณะและสถาบัน สกอ.

– กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มจร

– อุปนายก สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

– เลขาธิการ มูลนิธิศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

– รองเลขาธิการ สมาคมบัณฑิตทางกฎหมายและพุทธศาสตร์

– กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มูลนิธิจำนงค์ ทองประเสริฐ

– กรรมการ สมาคมชาวนครศรีธรรมราช กรุงเทพมหานคร

– กรรมการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ สมาคมชาวปักษ์ใต้ ในพระบรมราชูปถัมภ์

– ประธานชมรมชาวขนอม กรุงเทพมหานคร

– รองประธานชุมชน ป.ผาสุขนิเวศน์ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

– ไวยาวัจกร วัดบางกระบือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

– ผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญา

– ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประจำคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา

– ทีปรึกษาประธานคณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค สภาผู้แทนราษฎร

– คณะกรรมการด้านกฎหมายของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)

– กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา

– คณะทำงานพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ มจร

 

ประสบการณ์ในการศึกษาดูงานและประชุมสัมมนาในต่างประเทศ (พ.ศ.๒๕๓๕-ปัจจุบัน)       

ศึกษาดูงานและประชุมสัมมนา ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา ลาว เมียนมาร์ (พม่า) จีน (ฮ่องกง) จีน (ไทเป) เวียดนาม เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศในแถบยุโรป (เยอรมัน เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ อิตาลี สาธารณรัฐเช็ค ออสเตรีย) ญี่ปุ่น เป็นต้น

 

ปัจจุบัน เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต และอาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชารัฐประศาสตร์ โดยรับผิดชอบสอนในรายวิชาต่างๆ ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ดังนี้

๑. ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์           ๒. ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

๓. หลักรัฐศาสตร์ในพระไตรปิฏก          ๔. แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก

๕. ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์     ๖. ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์

๗. กฎหมายปกครอง                              ๘. การเมืองเปรียบเทียบ

๙. สัมมนาการเมืองในอาเซียน             ๑๐. สัมมนามหาวิทยาลัยสงฆ์กับสังคมไทย ฯลฯ

 

ที่อยู่ : ๑๖๓/๒ หมู่บ้าน ป.ผาสุขนิเวศน์ หมู่ที่ ๓ ตำบลพิมลราช อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๑๐

ผลงานทางวิชาการ


๑. ธัชชนันท์ อิศรเดช. ความคิดเห็นของนิสิตต่อการเรียนการสอนวิชาทางรัฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ ๑) ๒๕๕๙: ๑๖๕-๑๗๔. https://drive.google.com/file/d/1e1FzjdnsCmQCDa5aVohzsmfep5b0sUPT/view?usp=sharing

๒. ธัชชนันท์ อิศรเดช. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาของผู้บริหารกลุ่มโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในจังหวัดภาคเหนือ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ) ๒๕๕๙ : ๑๕๓-๑๖๘ https://drive.google.com/open?id=1JkwfH4yrYuSP33boqtrcoQD30r13wPLW

๓. ธัชชนันท์ อิศรเดช. รูปแบบวัฒนธรรมองค์กรเพื่อความเป็นเลิศทางพุทธจริยธรรมของมหาวิทยาลัยสงฆ์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ๒๕๖๐ : ๒๕๕-๒๖๘. http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/social/article/view/2350/1663

๔. ธัชชนันท์ อิศรเดช. ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการกองทุนสัจจะออมทรัพย์ เพื่อความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชน ในจังหวัดระยอง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (พิเศษ) ๒๕๖๐ : ๔๕๗-๔๗๓. http://www.journal-social.mcu.ac.th/wp-content/uploads/2017/11/Article-34-PHRAMAHA-NIPON-VEERAPHALO.pdf

๕. ธัชชนันท์ อิศรเดช. การพัฒนาภาวะผู้นาของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕-๑๒๑. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/153404

๖. ธัชชนันท์ อิศรเดช. การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) : ๔๗-๕๘. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/239417

๗. ธัชชนันท์ อิศรเดช. แนวคิดทางการเมืองของขงเบ้งในวรรณกรรมสามก๊กที่มีต่อสังคมไทย.วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/240429

๘. ธัชชนันท์ อิศรเดชและคณะ. ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย. ตีพิมพ์ใน วารสาร สังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2563) : 375-388. ISSN (Online): 2672-9040 คลิก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/246512/167914

๙. Thatchanan Issaradet, Phatraphol Jaiyen. THE LEADERSHIP DEVELOPMENT OF MONKS FOR THE PREPAREDNESS  OF THE ASEAN COMMUNITY. นิตยสารพุทธจักร ฉบับพิเศษ เนื่องในงานสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ ณ มหาวิทยาลัย พระพุทธศาสนาสีหนุราช ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา 27 มีนาคม พ.ศ. 2564  INTERNATIONAL SEMINAR, BUDDHIST SIHANOUK RAJA UNIVERSITY CAMBODIA, MARCH 27, 2021, 305-317. คลิก  https://bit.ly/3hsvD4M

๑๐. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๙). ศึกษาความคิดเห็นของนิสิตต่อการเรียนการสอนวิชาทางรัฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ ฉบับพิเศษ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๑๖๕-๑๗๔. (TCI Group 1)

๑๑. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๑). การพัฒนาภาวะผู้นำของพระสงฆ์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑) : ๑๐๕-๑๑๘. (TCI Group 1)

๑๒.  ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๒). การพัฒนานวัตกรรมการส่งเสริมพฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๒๗-๔๘. (TCI Group 2)

๑๓. ธัชชนันท์ อิศรเดช, วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุล. (๒๕๖๓) ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย, การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ ๒๒ ประจำปี ๒๕๖๓. จินตภาพใหม่ การกระจายอำนาจเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ : บทเรียนจากโควิด-๑๙. วันที่ ๖-๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ น.๑๘๙-๒๐๗. สถาบันพระปกเกล้า.

๑๔. ธัชชนันท์ อิศรเดช, วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุล. (๒๕๖๓) ชุมชนกับการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาชาวตำบลหนองสาหร่าย, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ (พฤศจิกายน ๒๕๖๓) น.๓๗๕-๓๘๘. (TCI Group 1)

๑๕. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๔). แนวทางและความเป็นไปได้ในการมอบอำนาจรัฐให้เอกชนออกคำสั่งทางปกครอง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๔) น.๒๔๕-๒๖๑. (TCI Group 2)

๑๖. ธัชชนันท์ อิศรเดช, (๒๕๖๕). วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ วัดวังตะวันตก จังหวัดนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม ๒๕๖๕) น.๔๘๒-๔๙๙ (TCI Group 1)

๑๗. ธัชชนันท์ อิศรเดช, ณัฐกร ยกชูธนชัย, กรกฎ ทองขะโชค, ศันสนีย์ จันทร์อานุภาพ, ทวีศักดิ์ พุฒสุขขี, องค์ความรู้ที่ส่งผลต่อความร่วมมือหรือความสำเร็จในกระบวนการไกล่เกลี่ย, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕) น…… ๒๔๕-๒๖๑. (TCI Group 2)

๑๘. ธัชชนันท์ อิศรเดช, ธีรภัค ไชยชนะ, พระวิเชียร หวลโคกสูง. ศึกษาและฟื้นฟูโครงการมัคคุเทศก์น้อยกับการร้องรับการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวในฟั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร, วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๕) น…..(TCI Group 2)

๑๙. ธัชชนันท์ อิศรเดช, สวัสดิ์ จิรัฎฐิติกาล. การลดภาระในภาครัฐโดยใช้วัดเป็นสถานกักขังในโทษที่เหมาะสม, ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

 

    บทความวิชาการ

๑. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๖). การจัดการเชิงพุทธกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๖) : ๒๐-๓๙.

๒. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๗). พระพุทธศาสนากับภาวะผู้นำ. วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๕๗) : ๒๙-๔๓.

๓. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๗). พระพุทธศาสนากับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. การประชุมวิชาการระดับชาติ พุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคม. ครั้งที่ ๑ (กรกฎาคม ๒๕๕๗) : ๓๕๔-๓๗๕. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

๔. ธัชชนันท์ อิศรเดช และนพพล ดีไทยสงค์. (๒๕๖๑). กระบวนการนิรโทษกรรม : เริ่มต้นจากสัมมาทิฏฐินำไปสู่อภัยทานและสิ้นสุดที่อโหสิกรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติ พุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคม. ครั้งที่ ๒ (กรกฎาคม ๒๕๖๑) : ๓๕๔-๓๗๕. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

๕. Phramah Boonlert Chuaythanee, Konit Srithong and Thatchanan Issaradet, Concept and Model of Cultural Politics, International Journal of Management and Economics, Vol. I No.25 September -2018. p.5-9. Chetan Publications Aurangabad- INDIA.

๖. Thatchanan Issaradet and Phatraphol Jaiyen, The Leadership Development of Monks for the Preparedness of the ASEAN Community, Buddhacakra (Special Issues) : International Seminar, Buddhist Sihanouk Raja University Cambodia, March 27, 2021. p.303-315.

    ๒.๒ ตำรา/หนังสือ

    ๑. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๔๘). การจัดการสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘. ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๓๖๔-๘๑๖-๗ จำนวน ๑๙๗ หน้า.

๒. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๕). “การจัดการเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม”ใน พื้นฐานทางการจัดการ, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๐๐๙-๕ จำนวน ๑๘๖ หน้า.

๓. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๕) “อำนาจและภาวะผู้นำเชิงพุทธ”ใน ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงพุทธ, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๐๒๐-๐ จำนวน ๒๙๖ หน้า.

๔. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๙) “พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์” ใน การเมืองกับการปกครองของไทย, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๓๖๔-๙๒๒-๖ จำนวน ๓๑๖ หน้า.

๕ ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๕๙) ความรู้เบื้องต้นทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, นครปฐม: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สินทวีกิจ พริ้นติ้ง. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๔๒๓-๑๖๘-๙ จำนวน ๔๑๗ หน้า.

๖. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๐) เอกสารคำสอน แนวคิดทางการเมืองของนักคิดสำคัญในตะวันออก, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๔๒๓-๑๖๘-๙ จำนวน ๔๑๗ หน้า.

๗. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๐) ภาวะผู้นำทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๔๒๓-๑๖๘-๙ จำนวน ๔๑๗ หน้า.

๘. ธัชชนันท์ อิศรเดช. (๒๕๖๒) “นิติปรัชญาสำนักประวัติศาสตร์และสำนักกฎหมายบ้านเมือง” ใน นิติปรัชญาแนวพุทธ, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๕๖๓-๒ จำนวน ๓๐๐ หน้า.

 


อบรม / สัมนา

  1. วันอังคารที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2564 เวลา 08.00 – 17.00 น. Road Map to Academic Positions กิจกรรมบริการวิชาการและบริการสังคมหลักสูตรสันติศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวข้อ เรื่อง สัมมนาวิชาการเส้นทางสู่ตำแหน่งทางวิชาการ Road Map to Academic Positions ผ่านระบบ Zoom Video Conference [วุฒิบัตร]
  2. โครงการอบรมออนไลน์ “การวิจัยและพัฒนา (R & D) และเทคนิค ตัวอย่างการพัฒนา นวัตกรรมในงานวิจัยทางการศึกษา” จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย   ร่วมกับ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อสังคมไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  4 สิงหาคม 2564  ผ่านระบบ Zoom Video Conference [วุฒิบัตร]
  3. สัมมนาวิชาการ “คุณธรรมจริยธรรมของนักกฎหมายไทย” โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร “วันรพี” รำลึกพระกรุณาธิคุณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ “บิดาแห่งกฎหมายไทย” วันที่ 7 สิงหาคม พุทธศักราช 2564 [วุฒิบัตร]
  4. วันที่ 26 สิงหาคม 2564 ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ครั้งที่ 2  เรื่อง หลักธรรมกับการขับเคลื่อนพลัง “บ-ว-ร” ต่อต้านการทุจริต จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. [วุฒิบัตร]
  5. ได้รับการพัฒนาอบรมโครงการบูรราการแนวทางความร่วมมือทางศาสนาในการต่อต้านการทุจริต โดยการประยุกต์หลักธรรมคำสอนกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education จำนวน 5 จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสำนักงาน ป.ป.ช. [เกียรติบัตร]
  6.  ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation)  รุ่นที่ 1 วันที่อบรม 5 ม.ค. 2565 ให้ ณ วันที่ 6 มกราคม 2565  [เกียรติบัตร]
  7. วันที่อบรม 11-12 ม.ค. 2565 ผ่านการอบรมหลักสูตร การจัดทำสูตรตามแนวทาง OBE รุ่นที่ 9  [เกียรติบัตร]
  8.  ผ่านการอบรมหลักสูตร  ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4 รุ่น วันที่ 19 – 21 มกราคม 2565 [เกียรติบัตร]
  9. ผ่านการอบรมหลักสูตร  ตามเกณฑ์ AUN-QA at Programme Level version 4 รุ่น วันที่ 23 – 25 มกราคม 2565 [เกียรติบัตร]
  10. วันที่ 25 เมษายน 2565 ได้ผ่านการอบรมการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา [วุฒิบัตร]

Comments