รศ.ดร.อำนาจ บัวศิริ
วุฒิการศึกษา
- ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต (สาขาเคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ
- ปริญญาโท ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิจัยทางการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปริญญาเอก ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาการอุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2540
ตำแหน่งทางวิชาการ
- คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ 190/2563 เรื่อง แต่งตั้งรองศาสตราจารย์พิเศษ [คำสั่งแต่งตั้ง]
ผลงานทางวิชาการ
1.อำนาจ บัวศิริ /Amnaj Buasiri. (2561). กระบวนการสร้างภาวะผู้นำด้วยหลักไตรสิกขา The Leadership Building Process According to the Threefold Learning. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2561 : 26-34.
๑. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). แนวทางการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ของครู ตามนโยบายไทยแลนด์ ๔๐ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต ๒. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๙, pp. ๑๑๖-๑๒๙
๒. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจตามหลักพุทธธรรม สำหรับผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๔, ๒๐๑๙, pp. ๒๐๖๒-๒๐๗๘.
๓. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). รูปแบบการพัฒนาทักษะการสอนของพระสอนศีลธรรมตามหลักพุทธวิธีการสอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๔, ๒๐๑๙, pp. ๑๙๔๗-๑๙๖๓.
๔. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อการสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๔, ๒๐๑๙, pp. ๒๑๒๒-๒๑๓๙.
๕. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). การพัฒนานวัตกรรมการเสริมสร้างเยาวชนต้นแบบ ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๔, ๒๐๑๙, pp. ๒๐๗๙-๒๐๙๗.
๖. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). การพัฒนาการแนะแนวตามหลักพุทธบริหารการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๖, ๒๐๑๙, pp. ๓๐๘๒-๓๑๑๐.
๗. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำใฝ่บริการ สำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๖, ๒๐๑๙, pp. ๒๙๕๓-๒๙๗๐.
๘. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒).รูปแบบการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ตามหลักพุทธธรรม มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๖, ๒๐๑๙, pp. ๒๙๗๑-๒๙๘๗.
๙. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสู่ความเป็นเลิศของการจัดการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๙, pp. ๑-๑๖.
๑๐. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๒). แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามหลักอริยสัจ ๔ ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๒. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๙, pp. ๗๑-๘๐.
๑๑. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๑). กระบวนการสร้างภาวะผู้นาด้วยหลักไตรสิกขา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๓, ๒๐๑๘, pp. ๒๖-๓๔.
๑๑. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๖๑). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนการกุศลของวัดพระพุทธศาสนาในภาคกลาง. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๓, ๒๐๑๘, pp. ๑๗๗-๑๘๙.
๑๒. อำนาจ บัวศิริ. (๒๕๖๑). วัคซีนชาวพุทธไทย : การศึกษาพระพุทธศาสนาสู่คนรุ่นใหม่ กับการแก้ไขปัญหาสังคมไทยด้วยงานวิจัยพุทธศาสตร์. วารสารธรรมธารา ปีที่ ๔, ฉบับที่ ๒ (ฉบับรวมที่ ๗), ๒๐๑๘, pp. ๑-๓๒.
๑๓.อำนาจ บัวศิริ. (๒๕๕๙). การพัฒนาคุณธรรมเยาวชนรุ่นใหม่. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๓, ๒๐๑๖, pp. ๑๓๓-๑๔๒.
๑๔. อำนาจ บัวศิริและคณะ. (๒๕๕๙). ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาธรรมศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๒, ๒๐๑๖, pp. ๗๓-๘๖.
๑๕.อำนาจ บัวศิริ. (๒๕๕๙). การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ในสภาพแวดล้อมที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ ๑๔, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๖, pp. ๗๐-๘๔.
๑๖. อำนาจ บัวศิริ. (๒๕๕๙). มหาวิทยาลัยสงฆ์กับนโยบายประเทศไทย ๔.๐. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ ๑๔, ฉบับที่ ๒, ๒๐๑๖, pp. ๑๐๓-๑๑๔.
Comments