พระเมธาวินัยรส, รศ.ดร.
วุฒิการศึกษา
- ปริญญาตรี ศศ.บ. (พุทธศาสนาและปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2531.
- ปริญญาโท ศศ.ม. (พุทธศาสน์ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2539.
- ปริญญาโท M.Phil. (Buddhist Studies) University of Delhi 1997.
- ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม./พุทธบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2562.
- ปริญญาเอก Ph.D. (Public Administration) University of Delhi 2003.
- ปริญญาเอก Ph.D. (Public Administration) Magadh University 2012.
- ปริญญาเอก ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การจัดการการศึกษา) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต 2561.
ตำแหน่งทางวิชาการ
- ผู้ช่วยศาสตาจารย์ สาขาวิชาพุทธศาสตร์ศึกษา [คำสั่ง 383/2557]
- รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาพุทธศาสตร์ [คำสั่ง 883/2561]
ผลงานทางวิชาการ
๑. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๒). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามหลักปัญญา ๓ ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๒, ๒๐๑๙, pp. ๙๗๓-๙๙๐.
๒. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๒). การส่งเสริมศักยภาพการสอนธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรม ในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศาลายา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๘, ฉบับที่ ๓, ๒๐๑๙, pp. ๒๘-๔๓.
๓. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๒). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ ๖, ฉบับที่ ๒, ๒๐๑๙, pp. ๙๔๓-๙๕๙.
๔. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๒). รูปแบบการเผยแผ่พุทธธรรมสาหรับคนในพุทธศตวรรษที่ ๒๖ เพื่อส่งเสริมความมั่นคงของพระพุทธศาสนา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๘, ฉบับที่ ๔, ๒๐๑๙, pp. ๑๗ – ๓๓.
๕. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๑). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยสงฆ์เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๗, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๘, pp. ๑๘-๓๑.
๖. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๑). การสร้างความมั่นคงของมนุษย์ด้านสิ่งแวดล้อมเชิงบูรณาการแนวพุทธ. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ปีที่ ๙, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๘, pp. ๙๗-๑๑๐.
๗. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๐). รูปแบบการส่งเสริมความปรองดองและสันติสุขด้วยศีล ๕ ของประชาชนในจังหวัดสระบุรี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๗, pp. ๑-๑๓.
๘. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๐). รูปแบบการสื่อสารด้านพระพุทธศาสนาสู่คนรุ่นใหม่ในประเทศไทยยุคปัจจุบัน. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ ๘, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๗, pp. ๘๘-๙๔.
๙. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๐). การเพิ่มขีดความสามารถในการแสดงธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระจริยานิเทศก์. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ปีที่ ๘, ฉบับที่ ๑, ๒๐๑๗, pp. ๒๑-๒๗.
๑๐. พระเมธาวินัยรสและคณะ. (๒๕๖๐). การแก้ปัญหาที่เกิดจากความโลภในการบริโภคตามหลักพระพุทธศาสนา. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ ๑๓, ฉบับที่ ๓, ๒๐๑๗, pp. ๙๖-๑๐๗
International / Scopus
1.Phramedhavinaiyaros (Suthep Buddhachanya) and Others. (2020). Guidelines to Local Infrastructures Development of Bangmoung Subdistrict Administration Organization Takua Pa District Phangnaga Province. Test Engineering and Management. Volume 83 Page Number: 12197 – 12201 Publication Issue: May – June 2020 ISSN: 0193-4120 [CIick to Article] [Click to Journal of Test Engineering and Management] Ranking Scopus Q4
2.Phramedhavinaiyaros (Suthep Buddhachanya) and Others.(2020).Local Political Participation Model of the People in CHOENG NEON Sub-District Municipality, MUEANG District, PAYONG Province. Test Engineering and Management. Volume 83 Page Number: 12253 – 12263 Publication Issue: May – June 2020 ISSN: 0193-4120 [Click to Article] [Click to Journal of Test Engineering and Management] Ranking Scopus Q4
Comments