ผศ.ดร.อนุวัต กระสังข์/ Asst.Prof.Dr.Anuwat Krasang
ประวัติการศึกษา
: นักธรรม ชั้นเอก
: เปรียญธรรม 3 ประโยค
: ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ป.วค.)
: พุทธศาสตรบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) เกียรตินิยมอันดับ 2
: พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)
: ตำแหน่งทางวิชาการระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ประวัติการทำงาน
อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผลงานทางวิชาการ
1) หนังสือ
(1.1) อนุวัต กระสังข์. ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.
(1.2) อนุวัต กระสังข์. การบริหารกิจการพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2558.
(1.3) อนุวัต กระสังข์. พื้นฐานรัฐประศานศาสตร์. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.
(1.4) อนุวัต กระสังข์. พุทธนวัตกรรม 1 ทศวรรษ. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.
(1.5) อนุวัต กระสังข์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.
(1.6) อนุวัต กระสังข์. มนุษย์สัมพันธ์ในองค์กร. พระนครศรอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2561.
2) เอกสารประกอบการสอน
(2.1) อนุวัต กระสังข์. การจัดการทรัพยากรมนุษย์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2558.
(2.2) อนุวัต กระสังข์. วิทยาการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559.
3) งานวิจัย
(3.1) งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบสถานะและองค์ความรู้สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2555
(3.2) งานวิจัยเรื่อง “การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตต่อการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2557
(3.3) งานวิจัยเรื่อง “คุณลักษณะของบัณฑิตที่มีผลต่อการจ้างงานของบัณฑิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2557
(3.4) งานวิจัยเรื่อง “การจัดการสิ่งแวดล้อมของวัดตามหลักนิเวศวิทยาเชิงพุทธบูรณาการของคณะสงฆ์จังหวัดสระบุรี” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2558
(3.5) งานวิจัยเรื่อง “มรดกโลกจังหวัดพระนครศรีอยุธยา: ปัญหา อุปสรรคและกระบวนการจัดการของภาคีเครือข่ายในพื้นที่” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2559
(3.6) งานวิจัยเรื่อง “พุทธบูรณาการเพื่อการบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในพระพุทธศาสนา” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2560
(3.7) งานวิจัยเรื่อง “โรงเรียนผู้สูงอายุ : การจัดการสุขภาวะและสวัสดิการผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) : 2560
4) บทความทางวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI
(4.1) อนุวัต กระสังข์. “ผู้นำในยุคโลกาภิวัตน์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2557) : 26-38 #TCI 1
(4.2) อนุวัต กระสังข์. “คุณลักษณะของบัณฑิตที่มีผลต่อการจ้างงานของบัณฑิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2558) : 101-115 #TCI 1
(4.3) อนุวัต กระสังข์. “การจัดการสิ่งแวดล้อมของวัดตามหลักนิเวศวิทยาเชิงพุทธบูรณาการของคณะสงฆ์จังหวัดสระบุรี”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2558) : 241-259 #TCI 1
(4.4) อนุวัต กระสังข์. “วิชาสุดท้ายที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2558) #TCI 1
(4.5) อนุวัต กระสังข์. “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2559) : 263-277 #TCI 1
(4.6) อนุวัต กระสังข์. “ย้อนรอยความเชื่อ : พิธีล้างพระพักตร์พระพุทธรูป สู่ความยั่งยืนพุทธศาสนา”. วารสาร มจร มนุษย์ศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559) : 67-77. #TCI 2
(4.7) อนุวัต กระสังข์. “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรตามแนวพุทธภายใต้กระแสบริโภคนิยม”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2560) : 99-108 #TCI 2
(4.8) อนุวัต กระสังข์. “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : หลักการและวิธีการพัฒนาชุมชนตามหลักพุทธธรรมอย่างยั่งยืน”. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เนื่องในโอกาสงานคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์วิชาการ ครั้งที่23 ระหว่างวันที่ 26-27 กรกฎาคม 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ : 125-144 #TCI 1
(4.9) อนุวัต กระสังข์. “การเปรียบเทียบการจัดการการศึกษาของพระสงฆ์ในเชียงตุง (พม่า) กับคณะสงฆ์ประเทศไทย”. วารสาร วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. (ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560): 188-198. #TCI 2
(4.10) อนุวัต กระสังข์. “ทฤษฎีภาวะผู้นำใฝ่บริการ: ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การในอนาคต”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2560): 112-126. #TCI 1
(4.11) อนุวัต กระสังข์. “รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงพุทธของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครสวรรค์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2560): 29-42. #TCI 1
(4.12) อนุวัต กระสังข์. “ความศรัทธา: มหาสถูปบุโรพุทโธสู่ความยั่งยืนพุทธศาสนา“. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561 : 159-172. #TCI 1
(4.13) อนุวัต กระสังข์. “แรงจูงใจ: พลังพลักดันสู่ความสำเร็จ“. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561 : 173-186. #TCI 1
(4.14) อนุวัต กระสังข์. “การพัฒนาคุณการบริหารจัดการสถานศึกษานอกสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2561): 86-98. #TCI 1
(4.15) อนุวัต กระสังข์. “การบริหารจัดการศาสนสมบัติของวัดในจังหวัดสมุทรปราการ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562): 13-26. #TCI 1